Published: Jul 2016
“ความดื้อ” คือพัฒนาการตามวัยของเด็กอย่างหนึ่ง การที่เด็กเล็กวัย 0-6 ปี แสดงอาการต่อต้านพ่อแม่ เป็นส่วนหนึ่งของการเติบโตและพัฒนาการของเขา ลูกกำลังทดสอบกรอบที่พ่อแม่วางไว้ การที่เด็กวัยนี้ดื้อไม่ใช่เรื่องที่เลวร้าย... [read more ...]
Published: Jul 2016
ยิ่ง “โรค” ก้าวไปไกลเท่าไหร่ มนุษย์เรายิ่งต้องก้าวไปให้ไกลกว่า “โรค” ไม่ว่าจะเป็นการดูแลรักษา การป้องกัน การเตรียมพร้อมรับมือกับ “โรค” ต่างๆ ที่จ้องจะจู่โจมเราได้ทุกเมื่อ อีกทั้งวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ... [read more ...]
Published: Jul 2016
ดูแล เทคแคร์ ผู้สูงวัย
อาจารย์กล่าวว่า “ถ้าจะให้นิยามของคำว่า ผู้สูงวัย คงต้องดูจากการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ซึ่งเป็นการเสื่อมที่เกิดขึ้นทั้งระบบ ทั้งกระบวนการของร่างกายตั้งแต่หัวจรดเท้า” สารพันปัญหาต่างๆ ที่มักพบมากในผู้สูงวัย... [read more ...]
Published: Jul 2016
โรคหัวใจในเด็ก
โรคหัวใจในเด็กนั้นมีความซับซ้อนค่อนข้างมาก และบางครั้งไม่อาจสังเกตอาการได้ทันที และมักไม่พบสาเหตุที่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถป้องกันได้ ยกเว้นในบางกรณีที่ทราบสาเหตุ เช่น เกิดจากการติดเชื้อไวรัส... [read more ...]
Published: Jul 2016
เบาหวาน
การรับประทานอาหาร มีความสำคัญกับโรคเบาหวาน ใครที่เป็นต้องควบคุมแคลลอรี่ต่อวัน ลดคาร์โบไฮเดรด นํ้าตาล ไขมัน ในแต่ละวันลง สัดส่วนของคาร์โบไฮเดรดก็ต้องดูว่ามาจากอะไร แป้ง ข้าว นํ้าตาล หรือนํ้าที่มีส่วนผสมของนํ้าตาล... [read more ...]
Published: Jul 2016
มะเร็งเต้านม
หน้าอกจะเล็กหรือใหญ่ไม่ใช่ปัญหา แต่ที่คุณหมอยํ้านักยํ้าหนา ก็คือการดูแลเต้านมของเราให้ดี เนื่องจากไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งเต้านมคืออะไรกันแน่ เราจึงควรกำจัดความเสี่ยงทั้งหลายที่สามารถทำได้เพื่อเป็นการป้องกัน... [read more ...]
Published: Jul 2016
แรงบันดาลใจที่ผลักดันให้คนเราลดน้ำหนักได้นั้น มีหลากหลายค่ะ บางคนอยากลดเพื่อให้อายุยืนยาวขึ้น มีโอกาสอยู่ดูลูกแต่งงาน หลานรับปริญญา บ้างก็อยากลดเพื่อให้กระโดดดิ่งทิ้งตัวลงจากคานได้ นัยว่าน้ำหนักที่มากเกินไปนั้นค้ำคานให้มั่นคงเกินควร... [read more ...]
Published: Jul 2016
การจะมีลูกสักคน สำหรับบางคนอาจเป็นเรื่องง่ายดาย แต่สำหรับบางคนนั้นช่างยากเย็นเข็ญใจ แต่ถ้าคุณแม่และคุณหมอมีความเข้าใจกันก็จะสามารถฝ่าฟันให้ถึงฝันได้เสมอ “คุณลินดา จินดาหลา” คุณแม่วัย 35 สละเวลามาแชร์ประสบการณ์ของการฟันฝ่าอุปสรรคตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์
คุณลินดาเล่าว่า... [read more ...]
Published: Jul 2016
“พรุ่งนี้จะเลิกกินของอ้วนๆ แล้ว” นี่คือคำ พูดของนักกินที่อยากผอมทั้งหลาย ซึ่งบางคนอาจจะเลิกอย่างจริงจัง แต่บางคนอดใจไม่ได้ ทำ เก่งอยู่วันสองวัน แล้วก็กลับไปอีหรอบเดิม ไม่จบสิ้น
หมอหมีก็พูดมาตลอดว่าความจริงแล้วเรื่องการลดความอ้วน... [read more ...]
Published: May 2016
จริงหรือที่สโลว์ไลฟ์คือการเกษียณอายุการทำงานมาใช้ชีวิตชิลๆ แบบไม่ต้องทำอะไรให้วุ่นวาย
ฟังดูเผินๆ เหมือนจะจริงนะครับ แต่พอไปดูต้นกำเนิดของสโลว์ไลฟ์แล้ว มันไม่ใช่นะครับ แนวคิดของสโลว์ไลฟ์เกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ... [read more ...]
“ความดื้อ” คือพัฒนาการตามวัยของเด็กอย่างหนึ่ง การที่เด็กเล็กวัย 0-6 ปี แสดงอาการต่อต้านพ่อแม่ เป็นส่วนหนึ่งของการเติบโตและพัฒนาการของเขา ลูกกำลังทดสอบกรอบที่พ่อแม่วางไว้ การที่เด็กวัยนี้ดื้อไม่ใช่เรื่องที่เลวร้าย การทดสอบขีดจำกัดเหล่านี้เป็นการแสดงออกถึงการเติบโตทางจิตใจว่าลูกของคุณกำลังคิดด้วยตัวเอง เรียนรู้ที่จะใช้เหตุผล และตัดสินใจเลือก ในฐานะพ่อแม่คุณควรรู้ให้ทันพัฒนาการของลูกน้อย และเตรียมตัวเตรียมใจรับมือให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยนั้นๆและช่วยให้ลูกปรับตัวจากเด็กดื้อกลับมาเป็นเด็ก มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง รู้สึกมั่นคงปลอดภัย สามารถใช้ชีวิตทั้งในบ้านและสังคมนอกบ้านได้อย่างมีความสุข เทคนิคเพิกเฉย เป็นการเปิดโอกาสให้ลูกได้เรียนรู้การควบคุมตนเอง และบ่อยครั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้เราได้สงบสติอารมณ์ตนเองด้วยเช่นกัน โดยเทคนิคเพิกเฉยประกอบด้วย ขั้นที่ 1 สงบสติอารมณ์ ขั้นที่ 2 มองหน้าลูก “แม่จะรอหนูเงียบ เราถึงจะคุยกัน” ขั้นที่ 3 เพิกเฉยลูก แต่อย่ามีท่าทีทอดทิ้งลูกไป ต้องเป็นท่าทีว่าเรามีงานอื่นที่ต้องทำ เช่น พับผ้า ล้างจาน ขั้นที่ 4 กลับไปหาลูก เมื่อลูกเงียบแล้ว เพื่อตอกยํ้าว่าเขาจะได้รับความสนใจก็เมื่อมีพฤติกรรมที่ดี เงียบ และจะถูกเพิกเฉยเมื่อมีพฤติกรรมร้องไห้เอาแต่ใจ ข้อแนะนำจากคุณหมอ “จงอย่ากลัวที่จะทำเพิกเฉยเมื่อลูกร้องไห้เอาแต่ใจ แต่จงกลัวที่จะเป็นยักษ์กับลูก เพราะการเพิกเฉยไม่ทิ้งผลข้างเคียงอะไรไว้กับลูก แต่หากตอบสนอง ลูกด้วยอารมณ์โกรธ ตวาด หรือดุลูกด้วยความรุนแรงก้าวร้าว ลูกจะรับความก้าวร้าวรุนแรงไว้ในหัวใจแบบเต็มๆ การเลี้ยงลูกที่มีภาวะดื้อและต่อต้านเป็น งานที่ท้าทายอย่างยิ่งสำหรับคุณพ่อคุณแม่
read more..
ยิ่ง “โรค” ก้าวไปไกลเท่าไหร่ มนุษย์เรายิ่งต้องก้าวไปให้ไกลกว่า “โรค” ไม่ว่าจะเป็นการดูแลรักษา การป้องกัน การเตรียมพร้อมรับมือกับ “โรค” ต่างๆ ที่จ้องจะจู่โจมเราได้ทุกเมื่อ อีกทั้งวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ เพื่อเป็นตัวช่วยให้แพทย์ทำการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไอเกิลฉบับนี้ขอรวบรวมทุกเรื่องราว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเด็กหรือผู้ใหญ่ เรื่องผู้ชายหรือผู้หญิง รวมทั้งความประทับใจจากคนไข้ที่มีภาวะแทรกซ้อนมากมาย แต่ด้วยเทคโนโลยีและความใส่ใจของแพทย์จึงทำให้ทุกอย่างผ่านพ้นไปด้วยดี หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับคุณผู้อ่านได้ไม่น้อยนะคะ เทคโนโลยีการผ่าตัด “Minimally Invasive Surgery” หรือ MIS คือ การผ่าตัดแบบ “แผลเล็ก เจ็บน้อยนอนโรงพยาบาลน้อย ฟื้นตัวเร็ว กลับไปทำงานได้เร็ว” การรักษาผ่าตัดทำโดยเจาะรูขนาดเล็ก ประมาณ 5-10 มม. ผ่านช่องท้อง หรือผิวหนังใกล้บริเวณอวัยวะที่ต้องการผ่าตัด จำนวน 1-4 รู ขึ้นอยู่กับโรคที่ต้องการรักษา เพื่อสอดเครื่องมือ และกล้องขนาดเล็กที่สามารถบันทึกภาพอวัยวะภายในของผู้ป่วยอย่างชัดเจน และส่งมายังจอมอนิเตอร์ เพื่อให้แพทย์มองเห็นบริเวณที่ต้องการผ่าตัดได้ชัดเจน ทำให้ผลที่ได้หลังการผ่าตัดมีความเที่ยงตรงและแม่นยำ ซึ่งสามารถให้การรักษาแก่ผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็น การผ่าตัดส่องกล้องทางศัลยกรรมทั่วไป การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช การผ่าตัดผ่านกล้องทางกระดูกและข้อ การผ่าตัดผ่านกล้องในระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น การผ่าตัดถุงน้ำดี
read more..